ลักษณะของสมการอนุพันธ์อันดับสองเป็นดังนี้
เมื่อ
วงจรอนุกรม RLC ที่ไม่มีแหล่งจ่าย
รูปที่ 8.1 วงจรอนุกรม RLC ที่ไม่มีแหล่งจ่าย
KVL :
แต่ จะได้สมการข้างต้นเป็น
จะพบว่าสมการที่ได้เป็นสมการอนุพันธ์อันดับสอง ดังนั้นวงจร RLC ข้างต้นจึงเป็นวงจรอนุพันธ์อันดับสอง
วงจรอนุกรม RLC ที่มีแหล่งจ่ายสัญญาณขั้นบันได
รูปที่ 8.2 วงจรอนุกรม RLC ที่มีแหล่งจ่ายสัญญาณขั้นบันได
KVL ที่เวลา t > 0 :
แต่ จะได้สมการข้างต้นเป็น
จะพบว่าสมการที่ได้เป็นสมการอนุพันธ์อันดับสอง ดังนั้นวงจร RLC ข้างต้นจึงเป็นวงจรอนุพันธ์อันดับสอง
วงจรขนาน RLC ที่ไม่มีแหล่งจ่าย
รูปที่ 8.3 วงจรขนาน RLC ที่ไม่มีแหล่งจ่าย
KCL :
แต่ จะได้สมการข้างต้นเป็น
จะพบว่าสมการที่ได้เป็นสมการอนุพันธ์อันดับสอง ดังนั้นวงจร RLC ข้างต้นจึงเป็นวงจรอนุพันธ์อันดับสอง
วงจรขนาน RLC ที่มีแหล่งจ่ายสัญญาณขั้นบันได
รูปที่ 8.4 วงจรขนาน RLC ที่มีแหล่งจ่ายสัญญาณขั้นบันได
KCL ที่เวลา t > 0 :
แต่ จะได้สมการข้างต้นเป็น
จะพบว่าสมการที่ได้เป็นสมการอนุพันธ์อันดับสอง ดังนั้นวงจร RLC ข้างต้นจึงเป็นวงจรอนุพันธ์อันดับสอง
วงจรอนุพันธ์อันดับสองทั่วไป
รูปที่ 8.5 วงจรอนุพันธ์อันดับสอง
ทำการวิเคราะห์ด้วยวิธีโนด :
KCL :
แต่ จะได้
จัดรูปได้
จะพบว่าสมการที่ได้เป็นสมการอนุพันธ์อันดับสอง ดังนั้นวงจรข้างต้นจึงเป็นวงจรอนุพันธ์อันดับสอง
เมื่อแก้สมการอนุพันธ์ข้างต้นจะได้
ค่า A 1 แล ะA 2 สามารถหาได้จากค่าเงื่อนไขเริ่มต้นคือ
จาก จะได้
ทำการหาอนุพันธ์ของผลตอบสนองกระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำจาก (สมการ A)
แทนค่าเงื่อนไขเริ่มต้นของอนุพันธ์ของกระแส
แก้ (สมการ B) และ (สมการ C) จะได้
นั่นคือ
เยียม มากก คับ กำลัง ตามหา อยู่ เลย ^_^
ตอบลบขอบคุณที่ชอบ
ตอบลบ