หุ่นยนต์
หุ่นยนต์นี้ถือกำเนิดมานานแล้ว แต่หุ่นยนต์ช่วงแรกๆอาจจะมีรูปร่างไม่เหมือนใน
เหมือนในปัจจุบัน ารที่คนเราสร้างหุ่นยนต์ขึ้นมานั้นเป็นที่แน่นอนว่าต้องการใช้หุ่นยนต์มาทำงานแทนมนุษย์นั้นเอง หุ่นยนต์เปรียบเสมือนเครื่องจักรกล
ที่ทำงานได้แต่ที่มันจะทำงานได้นั้นจะต้องมีการบังคับ หรือ การควบคุมควบคุมไปด้วย
ในสมัยก่อนการศึกษา ในเรื่องของหุ่นยนต์นั้นอาจจะดูยากซักหน่อย แต่ในปัจจุบันหุ่นยนต์
ได้เข้ามามีบทบาทต่อมนุษย์เรามากมาย ไม่ว่าจะเป็นหุ่นยนต์ในโรงงาน หุ่นยนต์ใน
โรงพยาบาล หรือ หุ่นยนต์ที่คอยอำนวยความสะดวกในสถานที่ต่างๆ ที่ประเทศญี่ปุ่นนับ
เป็นประเทศที่มีเทคโนโลยีทางด้านหุ่นยนต์สูงอีกประเทศหนึ่งครับ
การศึกษาด้านหุ่นยนต์ในปัจจุบัน สามารถหาข้อมูลได้ง่ายเพราะสื่อการเรียนการสอน
ทางด้านหุ่นยต์มีมากขึ้น และที่สำคัญ น้องๆในระดับชั้นประถมศึกษาก็เริ่มเรียนรู้วิชาทางด้าน
อิเล็กทรอนิกส์ และหุ่นยนต์กันแล้วครับ จะเห็นว่าจะมีการจัดการแข่งทางด้านหุ่นยนต์ ตลอด ตั้งแต่ระดับประถมศึกษา จนไปถึงระดับโลกเลยที่ เดียว ฉนั้นการศึกษาทางด้านหุ่นยนต์จึง
ไม่ไกลตัวอีกต่อไปครับ
ก่อกำเนิดคำว่า "หุ่นยนต์ " ในปี 1920 ได้เกิดละคร ชื่อ Possum's Univerdal Robot
โดย คาเรค คาเปก ซึ่งตัวละครจะเป็นหุ่นยนต์ และถูกมนุษย์ใช้งาน คำว่า Robot มาจาก
คำว่า Robota ใน ภาษาเซกโกสโลวะเกีย แปลว่า ทาส หรือ คนรับใช้ ต่อมา ประมาณ ค.ศ.
1942 ไอเซก อะซิมอฟ ได้เขียนนิยาย เรื่องสั้นเกี่ยวกับหุ่นยนต์ ซึ่งโด่งดังมาก คือ I-Robot
จากนั้น หุ่นยนต์ หรือ Robot จะไม่ได้อยู่ในจิตนาการ อีกต่อไปแต่จริงๆแล้วเครื่องจักรหรือ
เครื่องกลที่ทำงานแทน มนุษย์นั้นมีมานานแล้ว เช่น นาฬิกาน้ำ สร้างขึ้นเมื่อ 250 ปีก่อนคริสตร์
การหุ่นยนต์ได้มีการพัฒนาการรูปต่างๆกันโดยมนุษย์ มีการนำเทคโนโลยีมา ใส่ใว้ใน หุ่นยนต์
ทำให้หุ่นยนต์มีความสามารถในการทำงานมากขึ้น รวมทั้งมีการตัดสินใจได้ด้วยตัวเอง ซึ่งจะใช้
เทคโนโลยีที่เรียกว่า AI หรือ ปัญญาประดิษฐ์
ความหมายของหุ่นยนต์ และ กฎของหุ่นยนต์ คำว่าหุ่นยนต์จะหมายถึง เครื่องจักรที่ทำงานแทนมนุษย์โดยมีคำสั่งที่มนุษย์ป้อนให้
กฎของหุ่นยนต์
1. หุ่นยนต์ต้องไม่ทำร้ายมนุษย์ และหุ่นยต์ต้องช่วยเหลือมนุษย์
2. หุ่นยนต์ต้องเชื้อฟังคำสั่งของมนุษย์ แต่ต้องไม่ขัดแย้งกับข้อ 1
3. หุ่นยนต์สามารถป้องกันตัวเองได้แต่ต้องไม่ขัดแย้งกับข้อที่ 1 และ 2
ซึ่ง กฎ ดังกล่าวเป็นเพียงจินตนาการในนิยายเท่านั้นแต่ในอนาคต กฏเหล่านี้จะถูกนำๆ
ไปใช้กับหุ่นยนต์ อย่างแน่นนอน ครับ
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น