วงจรอนุพันธ์อันดับหนึ่ง
เราจะนิยามว่าวงจรอนุพันธ์อันดับหนึ่งคือวงจรที่มีสามารถอธิบายได้ด้วยสมการอนุพันธ์อันดับหนึ่ง (A first-order differential equation) ลักษณะของสมการอนุพันธ์อันดับหนึ่งเป็นดังนี้
เมื่อ
วงจร RC ที่ไม่มีแหล่งจ่าย
วงจร RC ดังรูปที่ 7.1 สมมติว่าณ.เวลาที่ t=0 วินาที เป็นเวลาที่เราเริ่มพิจารณาวงจร กำหนดให้มีประจุสะสมอยู่ที่ตัวเก็บประจุอยู่ค่าค่าหนึ่ง ซึ่งส่งผลให้มีแรงดันตกคร่อมตัวเก็บประจุอยู่เท่ากับ
นั่นหมายถึงมีพลังงานที่สะสมที่ตัวเก็บประจุที่เวลา t=0 วินาทีเท่ากับ
รูปที่ 7.1 วงจร RC ที่ไม่มีแหล่งจ่าย
KCL :
แทนค่ากระแสที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุและตัวต้านทาน
จัดรูปใหม่ได้
จะพบว่าสมการที่ได้เป็นสมการอนุพันธ์อันดับหนึ่ง ดังนั้นวงจร RC ข้างต้นจึงเป็นวงจรอนุพันธ์อันดับหนึ่ง
เมื่อแก้สมการอนุพันธ์ข้างต้นจะได้
นั่นคือ
ผลตอบสนองแรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุ สามารถวาดกราฟผลตอบสนองได้ดังรูป
รูปที่ 7.2 ผลตอบสนองของวงจร RC ที่ไม่มีแหล่งจ่าย
สำหรับวงจร RC ที่ไม่มีแหล่งจ่ายข้างต้น
ค่าพลังงานที่ได้ตัวต้านทานได้รับที่เวลา t ใดๆ หาได้จาก
เมื่อเวลาเข้าใกล้อนันต์จะได้ว่า
นั่นคือพลังงานที่สะสมที่ตัวเก็บประจุที่เวลา t=0 จะถูกใช้ไปที่ตัวต้านทานหมดเมื่อเวลาผ่านไปเป็นเวลานาน
วงจร RL ที่ไม่มีแหล่งจ่าย
รูปที่ 7.3 วงจร RL ที่ไม่มีแหล่งจ่าย
KVL :
แทนค่าแรงดันที่ตกคร่อมตัวเหนี่ยวนำและตัวต้านทาน
จัดรูปใหม่ได้
จะพบว่าสมการที่ได้เป็นสมการอนุพันธ์อันดับหนึ่ง ดังนั้นวงจร RL ข้างต้นจึงเป็นวงจรอนุพันธ์อันดับหนึ่ง
เมื่อแก้สมการอนุพันธ์ข้างต้นจะได้
ค่า A สามารถหาได้จากค่าเงื่อนไขเริ่มต้นคือ
นั่นคือ
รูปที่ 7.4 ผลตอบสนองของวงจร RL ที่ไม่มีแหล่งจ่าย
ค่าพลังงานที่ได้ตัวต้านทานได้รับที่เวลา t ใดๆ หาได้จาก
เมื่อเวลาเข้าใกล้อนันต์จะได้ว่า
นั่นคือพลังงานที่สะสมที่ตัวเหนี่ยวนำที่เวลา t=0 จะถูกใช้ไปที่ตัวต้านทานหมดเมื่อเวลาผ่านไปเป็นเวลานาน
ฟังก์ชันขั้นบันไดหนึ่งหน่วย (Unit step function)
รูปที่ 7.5 ฟังก์ชันขั้นบันไดหนึ่งหน่วย
รูปที่ 7.6 ฟังก์ชันขั้นบันไดหนึ่งหน่วยที่เลื่อนไปเท่ากับ t0
สามารถเขียนในรูปแบบฟังก์ชันขั้นบันไดหนึ่งหน่วยได้เป็น
รูปที่ 7.7 แรงดันที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างทันทีทันใดที่เวลา t0
รูปที่ 7.8 แหล่งจ่ายแรงดันแบบขั้นบันได
รูปที่ 7.9 แหล่งจ่ายกระแสแบบขั้นบันได
ผลตอบสนองของวงจร RC ต่อสัญญาณขั้นบันได
รูปที่ 7.10 วงจร RC ที่มีแหล่งจ่าย
โดย
ใช้วิธีโนดวิเคราะห์วงจรรูปที่ 7.10(b) จะได้
ที่เวลา t > 0 จะได้
เมื่อแก้สมการอนุพันธ์ข้างต้นจะได้ผลตอบสนองธรรมชาติ
และผลตอบสนองบังคับ
นั่นคือผลตอบสนองรวมเป็น
แทนค่าเงื่อนไขเริ่มต้นได้
จะได้แรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุเป็น
รูปที่ 7.11 ผลตอบสนองของวงจร RC ที่มีแหล่งจ่าย
ผลตอบสนองของวงจร RL ต่อสัญญาณขั้นบันได
รูปที่ 7.12 วงจร RL ที่มีแหล่งจ่าย
โดย
ใช้วิธีเมชวิเคราะห์วงจรรูปที่ 7.12(b) จะได้
ที่เวลา t > 0 จะได้
เมื่อแก้สมการอนุพันธ์ข้างต้นจะได้ผลตอบสนองธรรมชาติ
และผลตอบสนองบังคับ
นั่นคือผลตอบสนองรวมเป็น
แทนค่าเงื่อนไขเริ่มต้นได้
จะได้กระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำเป็น
รูปที่ 7.13 ผลตอบสนองของวงจร RL ที่มีแหล่งจ่าย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น